เป็นการสืบค้นพุทธสถานเมื่อครั้งสมัยพุทธกาลนี้ที่น่าจะตั้งอยู่บริเวณประเทศไทยและเพื่อนบ้านด้วยทิพจักขญาณและหลักฐานวัตถุเท่าที่มีอยู่ประกอบกับผลงานวิจัยของ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์


0: ตักสิลา
Ver detalle
1: กรุงพาราณสี
Ver detalle
2: กรุงเทวทหะ
Ver detalle
3: เขาคิชกูฏ
Ver detalle
4: พระธาตุอิงฮัง
Ver detalle
5: ท่าเรือสุปปรากะ
Ver detalle
6: สถานที่ปรินิพพาน
Ver detalle
7: สถานที่แสดงปฐมเทศนา
Ver detalle
8: สถานที่ประสูติ
Ver detalle
9: สถานที่ตรัสรู้
Ver detalle
10: เมืองสาเกต
Ver detalle
11: เมืองโกสัมพี
Ver detalle
12: เมืองสาวัตถี
Ver detalle
13: พระธาตุขามแก่น
Ver detalle
14: พระธาตุนาดูน
Ver detalle
15: พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง
Ver detalle
16: พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง
Ver detalle
17: โรงเรียนวัดพระแท่นดงรัง
Ver detalle
18: วัดพระแท่นดงรังวรวิหาร
Ver detalle
19: พระธาตุหลวง ທາດຫລວງ
Ver detalle
20: วัดพระพุทธบาทน้อย
Ver detalle
21: วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร
Ver detalle
22: วัดพระบรมธาตุไชยาวรวิหาร
Ver detalle
23: วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
Ver detalle
24: วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร
Ver detalle
25: วัดพระพุทธบาทสี่รอย
Ver detalle
26: วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร
Ver detalle
27: วัดพระธาตุจอมกิตติ
Ver detalle
28: วัดพระพุทธบาทตากผ้า
Ver detalle
29: วัดพระธาตุศรีสองรัก
Ver detalle
30: พระธาตุศรีสองรัก
Ver detalle
31: อุกกละชนบท
Ver detalle
32: กรุงราชคฤห์
Ver detalle
33: แม่น้ำโขง
Ver detalle
34: ขรนที
Ver detalle
35: วัดพระธาตุลำปางหลวง
Ver detalle
36: เมืองจัมปา
Ver detalle
37: ภัททิยะนคร
Ver detalle
38: กรุงอุชเชนี
Ver detalle
39: Wat Mai Monastery
Ver detalle
40: กรุงกบิลพัสดุ์
Ver detalle
41: พระธาตุโพน
Ver detalle
42: พระธาตุอินทร์แขวน
Ver detalle
43: วัดพระธาตุช่อแฮ
Ver detalle
44: พระธาตุดอยสุเทพ
Ver detalle
45: พระธาตุแช่แห้ง
Ver detalle
46: สำนักงานมูลนิธิพระธาตุนาดูน
Ver detalle
47: วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร
Ver detalle
48: วัดพระธาตุดอยกองมู
Ver detalle
49: ทรงผนวช ใกล้แม่น้ำอโนมา
Ver detalle
50: ภุกฏวดีนคร
Ver detalle
51: เมืองเวสาลี
Ver detalle
52: โรงเรียนวัดสังกัสรัตนคีรี
Ver detalle
53: เมืองกังกัสสะ
Ver detalle
54: โมรียนคร
Ver detalle
55: กุสินารายนคร
Ver detalle
56: ลังกาทวีป
Ver detalle
57: มิถิลานคร
Ver detalle
58: โกลิยนคร
Ver detalle
59: กุกรรฆรนคร
Ver detalle


Lugares de interés (POIs) del Mapa

0: ตักสิลา

จากการสืบคืนประวัติ พระพุทธศาสนา
คาดว่าตรงอำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก คือตักสิลา


Más sobre ตักสิลา

1: กรุงพาราณสี

จากเอกสารงานวิจัย ของ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์


Más sobre กรุงพาราณสี

2: กรุงเทวทหะ

กรุงเทวทหะ ตามทิพจักขุญาณว่า เป็นเมืองของพระนางสิริมหามายาเทวี


Más sobre กรุงเทวทหะ

3: เขาคิชกูฏ

อ้างอิงทิพจักขุญาณ เป็นสถานที่พระเทวทัตกลิ้งหินใส่พระพุทธเจ้าเพื่อลอบปลงพระชนม์


Más sobre เขาคิชกูฏ

4: พระธาตุอิงฮัง

สถานที่พระพุทธเจ้าฉันอาหารมื่อสุดท้าย (สุกรมัทวะ)
ใต้ต้นรัง มีปรากฏในประวัติพระธาตุอิงฮัง


Más sobre พระธาตุอิงฮัง

5: ท่าเรือสุปปรากะ

ท่าเรือที่พระพาหิยะ ได้ค้าขายและเรือแตก จนต้องนุ่งห่มเปลือกไม้ และคนเข้าใจว่าเป็นพระอรหันต์
และสุดท้ายได้รู้เรื่องพระพุทธเจ้าอุบัติแล้ว จึงเร่งรีบเดินทางไปเฝ้าพระพุทธองค์

อ้างอิง:ทิพจักขุ


Más sobre ท่าเรือสุปปรากะ

6: สถานที่ปรินิพพาน

วัดพระแท่นดังรัง
เป็นที่เล่าขานมาช้านานว่า ที่แห่งนี้คือพระแท่นปรินิพพาน
ก่อนที่ฝรั่งจะมาตู่ว่า อยู่ที่อินเดีย หรือเนปาล


Más sobre สถานที่ปรินิพพาน

7: สถานที่แสดงปฐมเทศนา

วัดพระพุทธบาทน้อย ทับกวาง สระบุรี
อ้างอิงจากงานวิจัย ดร. ชัยยงค์ พรหมวงษ์


Más sobre สถานที่แสดงปฐมเทศนา

8: สถานที่ประสูติ

พระธาตุศรีสองรัก

อ้างอิงจากงานวิจัย
ดร.ชัยยงค์ พรหมวงษ์


Más sobre สถานที่ประสูติ

9: สถานที่ตรัสรู้

วัดพระแท่นศิลาอาสน์ ตำบล ทุ่งยั้ง จังหวัด อุตรดิตถ์ ประเทศไทย
เป็นสถานที่ตรัสรู้
อ้างอิงจากผลงานวิจัยของ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงษ์


Más sobre สถานที่ตรัสรู้

10: เมืองสาเกต

คือเมืองที่ธนัญชัยเศรษฐี ยกบริวารไปตั้งรกราก ตามคำเชิญของพระเจ้าปเสนทิโกศล เนื่องจากพระเจ้าพิมพิสาร มีเศรษฐีอยู่มาก ส่วนสาวัตถีของพระเจ้าปเสนทิโกศลมีเศรษฐีน้อย ธนัญชัยเศรษฐีจึงต้องย้ายถิ่นฐานของตน มา ที่นี่ ธิดาของธนัญชัยเศรษฐี ก็คือนางวิสาขา
อ้างอิงจาก:ผลงานวิจัย ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์


Más sobre เมืองสาเกต

11: เมืองโกสัมพี

กรุงโกสัมพี ที่พระเจ้าปเสนทิโกศลเป็นพระราชา
น่าจะเป็น อำเภอโกสุมพิสัย

อ้างอิงจากผลงานวิจัย ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์


Más sobre เมืองโกสัมพี

12: เมืองสาวัตถี


อ้างอิงจาก การวิจัย ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์


Más sobre เมืองสาวัตถี

13: พระธาตุขามแก่น


Más sobre พระธาตุขามแก่น

14: พระธาตุนาดูน


Más sobre พระธาตุนาดูน

15: พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง

ย่างกุ้ง พม่า


Más sobre พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง

16: พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง

ย่างกุ้ง พม่า


Más sobre พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง

17: โรงเรียนวัดพระแท่นดงรัง


Más sobre โรงเรียนวัดพระแท่นดงรัง

18: วัดพระแท่นดงรังวรวิหาร


Más sobre วัดพระแท่นดงรังวรวิหาร

19: พระธาตุหลวง ທາດຫລວງ

พระธาตุหลวง
นครเวียงจันทน์
ประเทศลาว
เก็บพระอุรังคธาตุพระพุทธเจ้า


Más sobre พระธาตุหลวง ທາດຫລວງ

20: วัดพระพุทธบาทน้อย


Más sobre วัดพระพุทธบาทน้อย

21: วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร


Más sobre วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร

22: วัดพระบรมธาตุไชยาวรวิหาร


Más sobre วัดพระบรมธาตุไชยาวรวิหาร

23: วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร


Más sobre วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร

24: วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร


Más sobre วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร

25: วัดพระพุทธบาทสี่รอย


Más sobre วัดพระพุทธบาทสี่รอย

26: วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร


Más sobre วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร

27: วัดพระธาตุจอมกิตติ


Más sobre วัดพระธาตุจอมกิตติ

28: วัดพระพุทธบาทตากผ้า


Más sobre วัดพระพุทธบาทตากผ้า

29: วัดพระธาตุศรีสองรัก


Más sobre วัดพระธาตุศรีสองรัก

30: พระธาตุศรีสองรัก


Más sobre พระธาตุศรีสองรัก

31: อุกกละชนบท

เมื่องที่พ่อค้าสองคนคือ ตปุสสะ-ภัลลิกะ

ได้นำพระเกศา ๘ เส้นกลับไปบูชายังพระธาตุชเวดากอง


Más sobre อุกกละชนบท

32: กรุงราชคฤห์

อ้างอิงตามทิพจักขุญาณ


Más sobre กรุงราชคฤห์

33: แม่น้ำโขง


Más sobre แม่น้ำโขง

34: ขรนที

แม่น้ำโขง หรือชื่อเรียกสมัยพุทธกาลคือ ขรนที
หรือ ธนนที
อ้างอิงจากผลงานวิจัย ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์


Más sobre ขรนที

35: วัดพระธาตุลำปางหลวง


Más sobre วัดพระธาตุลำปางหลวง

36: เมืองจัมปา

ข้อสัญนิษฐาน น่าจะอยู่ที่เมืองปากเซ แขวงจำปาสักของลาว


Más sobre เมืองจัมปา

37: ภัททิยะนคร

ภัททิยนคร เป็นเมืองที่อยู่ของเมณฑกะเศรษฐี และธนัญชยะเศรษฐี ผู้เป็นปู่และพ่อของนางวิสาขามหาอุบาสิกา นางวิสาขาเองก็เกิดที่ภัททิยนครนี้ เมื่อมีอายุได้ ๗ ปี ได้เข้าเฝ้าพระพุทธองค์ซึ่งเสด็จเยี่ยมภัททิยนคร ได้สดับพระธรรมเทศนาแล้วได้สำเร็จเป็นพระโสดาบัน
(ข้อสัญนิษฐาน)


Más sobre ภัททิยะนคร

38: กรุงอุชเชนี

พระมหากัจจายนะ เป็นบุตรของพราหมณ์ตระกูลกัจจายนะ ผู้เป็นปุโรหิต (ที่ปรึกษา)
ของพระเจ้าจัณฑปัชโชต ในกรุงอุชเชนี เดิมท่านชื่อว่า “กัญจนะ” เพราะมีรูปร่างลักษณะงาม
สง่า มีเสน่ห์แก่ผู้พบเห็น เมื่อเจริญวัยขึ้น ได้เรียนจบไตรเพท คือ คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของศาสนา
พราหมณ์ เมื่อบิดาถึงแก่กรรมแล้วได้ดำรงตำแหน่งปุโรหิตแทนบิดา
เมื่อพระบรมศาสดาตรัสรู้แล้ว เสด็จเที่ยวจาริกประกาศหลักธรรมคำสอนตามคามนิคม
ชนบทอยู่นั้น พระเจ้าจัณฑปัชโชต มีพระราชประสงค์จะกราบทูลอาราธนาพระพุทธองค์เสด็จสู่
กรุงอุชเชนีของพระองค์บ้าง จึงรับสั่งให้ปุโรหิจกัจจายนะไปกราบทูลอาราธนา กัจจายนะถือ
โอกาสกราบทูลลาเพื่ออุปสมบทด้วย เมื่อทรงอนุญาตแล้วจึงพร้อมด้วยบริวารติดตามอีก ๗ คน
เดินทางไปเฝ้าพระบรมศาสดา เมื่อเดินทางไปถึงก็รับเข้าเฝ้า พระพุทธองค์ตรัสพระธรรมเทศนา
ให้ ฟังและเท่านทั้ง ๘ คนนั้น ก็ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ แล้วกราบทูลขออุปสมบท พระพุทธ
องค์ทรงอนุญาตให้เป็นภิกษุด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปนา เมื่อได้อุปสมบทแล้ว ได้กราบทูล
อาราธนาพระบรมศาสดาเสด็จสู่กรุงอุชเชนี ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้เดินทางมา แต่พระ
บรมศาสดารับสั่งให้ท่านไปเองพระเจ้าจัณฑปัชโชต และชาวเมืองก็จะเกิดศรัทธาเหมือนกัน
พระมหากัจจายนะ จึงกราบทูลลาพระบรมศาสดาพาภิกษุบริวารอีก ๗ องค์นั้น เดินทาง
กลับสู่กรุงอุชเชนี ประกาศหลักธรรมคำสอนในพุทธศาสนาให้พระเจ้าจัณฑปัชโชต และชาว
เมืองได้สดับรับฟัง เกิดศรัทธาเลื่อมใส ทำให้พระพุทธศาสนาแพร่กระจายทั่วกรุงอุชเชนีแล้ว
ท่านก็ได้เดินทางกลับมาเฝ้าพระผู้มีพระภาคอีก
(ทิพจักขุญาณ)


Más sobre กรุงอุชเชนี

39: Wat Mai Monastery


Más sobre Wat Mai Monastery

40: กรุงกบิลพัสดุ์

ทิพจักขุญาณ
กรุงกบิลพัสดุ์ พระเจ้าชายสิทธัตถะทรงเจริญวัยและใช้ชีวิตที่นี่เป็นเวลา ๒๙ ปี ก่อนจะออกผบวช


Más sobre กรุงกบิลพัสดุ์

41: พระธาตุโพน

พระธาตุโพน สะหวันนะเขต
เป็นสถานที่พระพุทธเจ้าขับถ่ายหลังจากฉันอาหารมื่อสุดท้ายที่พระธาตุอิงฮัง


Más sobre พระธาตุโพน

42: พระธาตุอินทร์แขวน

17.483583,97.098428


Más sobre พระธาตุอินทร์แขวน

43: วัดพระธาตุช่อแฮ

พระธาตุช่อแฮ จังหวัดแพร่


Más sobre วัดพระธาตุช่อแฮ

44: พระธาตุดอยสุเทพ

18.8052,98.9216

พระธาตุดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่


Más sobre พระธาตุดอยสุเทพ

45: พระธาตุแช่แห้ง

พระธาตุแช่แห้ง อำเภอภูเพียง
จังหวัดน่าน


Más sobre พระธาตุแช่แห้ง

46: สำนักงานมูลนิธิพระธาตุนาดูน


Más sobre สำนักงานมูลนิธิพระธาตุนาดูน

47: วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร


Más sobre วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร

48: วัดพระธาตุดอยกองมู


Más sobre วัดพระธาตุดอยกองมู

49: ทรงผนวช ใกล้แม่น้ำอโนมา

สถานที่ทรงตัดพระเกศาและผนวชริมแม่น้ำอโนมา
ในวันเพ็ญเดือนแปด ก่อนตรัสรู้หกปี


Más sobre ทรงผนวช ใกล้แม่น้ำอโนมา

50: ภุกฏวดีนคร

เมืองของพระเจ้ามหากัปปินะ-พระนางอโนชาเทวี
ข้อสัญนิษฐาน


Más sobre ภุกฏวดีนคร

51: เมืองเวสาลี

เมื่อครั้งสมัยพุทธกาลเมืองนี้แห้งแล้ง
และเกิดเรื่องราวของน้ำพระพุทธมนต์เมืองเวลาสี


Más sobre เมืองเวสาลี

52: โรงเรียนวัดสังกัสรัตนคีรี


Más sobre โรงเรียนวัดสังกัสรัตนคีรี

53: เมืองกังกัสสะ

สัญนิษฐาน
เป็นที่พระพุทธองค์เสด็จลงจากดาวดึงส์ในพรรษาที่ ๗ หลังเสด็จแสดงพระอธิภรรม ๗ คัมภีร์ โปรดพุทธมารดา


Más sobre เมืองกังกัสสะ

54: โมรียนคร

สมัยพระพุทธเจ้าปรินิพพาน กษัตริย์เมืองโมรีไปเชิญพระบรมสารีริกธาตุช้า เลยได้แค่พระอังคารธาตุกลับมาบูชาแทน


Más sobre โมรียนคร

55: กุสินารายนคร

เมืองที่พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพาน


Más sobre กุสินารายนคร

56: ลังกาทวีป

ลังกาทวีป 

อ้างอิงจากผลงานวิจัย ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์


Más sobre ลังกาทวีป

57: มิถิลานคร

อำเภอศรีมโหสถ จังหวัด ปราจีนบุรี ประเทศไทย

คือบริเวณ มิถิลานคร 
อ้างอิงจากผลงานวิจัยของ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์


Más sobre มิถิลานคร

58: โกลิยนคร

เมืองพระสีวลี
โกลิยะธิดา พระนางสุปปวาสา เอตทัคคะถวายทานรสประนีต

อ้างอิง:ทิพจักขุญาณ


Más sobre โกลิยนคร

59: กุกรรฆรนคร

นางกาฬิกุกรรฆรนคร
เป็นเอตทัคคะเลื่อมใสตามเขา


Más sobre กุกรรฆรนคร

Comentarios

comments powered by Disqus